โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่องการบีบอัดขยะด้วยกลไก
จัดทำโดย
ด.ช.กฤษดา เครือจันทร์ ม.2/3 เลขที่4
ด.ช.เจษฎา คำประดิษฐ์ ม.2/3 เลขที่16
เสนอ
คุณครูธีรพล คงมีผล
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาคอมพิวเตอร์
โรงเรียนเทศบาล 3 วัดชัยชนะสงคราม
อำเภอเมือง จังหวัดตาก
ที่
|
แนวทางการแก้ปัฐหา
|
ทรัพยากรทางเทคโนโลยี
|
||||||
คน
|
ข้อมูลและสารสนเทศ
|
วัสดุ
|
เครื่องมือและอุปกรณ์
|
พลังงาน
|
ทุน
|
เวลา
|
||
1
|
บีบอัดขยะโดยใช้หลักการของคาน
|
ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคานและโมเมนต์ของแรง
|
ใช้ข้อมูลด้านคานและโมเมนต์ของแรง
|
ใช้วัสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิม
|
ใช้เครื่องมือช่างพื้นฐาน
|
ใช้แรงคนในการบีบอัด
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อวัสดุที่ใช้ทำโครงสร้างของคาน
|
กระบวนการสร้างไม่ซับซ้อนจึงใช้เวลาน้อย
|
2
|
บีบอัดขยะด้วยกลไก scissors
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านกลไก scissorsและเซ็นเซอร์
|
ใช้ข้อมูลด้านกลไก scissors และเซ็นเซอร์
|
ใช้วัสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมในการทำกลไก
|
ใช้เครื่องมือช่างพื้นฐานใช้เซ็นเซอร์และใช้โซลาร์เซลล์
|
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าในการบีบอัด
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อโซลาร์เซลล์เซ็นเซอร์และแผงวงจรควบคุม
|
กระบวนการสร้างไม่ซับซ้อนจึงใช้เวลาน้อย
|
ที่
|
แนวทางการแก้ปัฐหา
|
ทรัพยากรทางเทคโนโลยี
|
||||||
คน
|
ข้อมูลและ
สารสนเทศ
|
วัสดุ
|
เครื่องมือและอุปกรณ์
|
พลังงาน
|
ทุน
|
เวลา
|
||
1
|
การบีบอัดขยะด้วยระบบไฮดรอลิก
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะเช่นกลศาสตร์ไฟฟ้า
|
ใช้ข้อมูลด้านกลศาสตร์ไฟฟ้า
|
ใช้วัสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมในการทำแผ่นบีบอัด
|
ใช้เครื่องมือช่างและระบบไฮดรอลิก
|
ใช้พลังงานไฟฟ้าขับเคลื่อนระบบไฮดรอลิก
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อระบบไฮดรอลิก
|
กระบวน
การสร้างซับซ้อนจึงใช้เวลามาก
|
2
|
บีบอัดขยะด้วยกลไก scissors
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านกลไก scissorsและเซ็นเซอร์
|
ใช้ข้อมูลด้านกลไก scissors
และเซ็นเซอร์
|
ใช้วัสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมในการทำกลไก
|
ใช้เครื่องมือช่างพื้นฐานใช้เซ็นเซอร์และใช้โซลาร์เซลล์
|
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าในการบีบอัด
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อโซลาร์เซลล์เซ็นเซอร์และแผงวงจรควบคุม
|
กระบวนการสร้างไม่ซับซ้อนจึงใช้เวลาน้อย
|