โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การบีบอัดขยะด้วยระบบไฮดรอลิกและกลไก
scissor
จัดทำโดย
ด.ช.เจษฎา
คำประดิษฐ์ ม.2/3 เลขที่16
เสนอ
คุณครูธีรพล คงมีผล
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาคอมพิวเตอร์
โรงเรียนเทศบาล 3 วัดชัยชนะสงคราม
อำเภอเมือง จังหวัดตาก
เรื่อง การบีบอัดขยะด้วยระบบไฮดรอลิกและกลไก
scissor
ที่
|
แนวทางการแก้ปัฐหา
|
ทรัพยากรทางเทคโนโลยี
|
||||||
คน
|
ข้อมูลและ
สารสนเทศ
|
วัสดุ
|
เครื่องมือและอุปกรณ์
|
พลังงาน
|
ทุน
|
เวลา
|
||
1
|
การบีบอัดขยะด้วยระบบไฮดรอลิก
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะเช่นกลศาสตร์ไฟฟ้า
|
ใช้ข้อมูลด้านกลศาสตร์ไฟฟ้า
|
ใช้วัสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมในการทำแผ่นบีบอัด
|
ใช้เครื่องมือช่างและระบบไฮดรอลิก
|
ใช้พลังงานไฟฟ้าขับเคลื่อนระบบไฮดรอลิก
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อระบบไฮดรอลิก
|
กระบวน
การสร้างซับซ้อนจึงใช้เวลามาก
|
2
|
บีบอัดขยะด้วยกลไก scissors
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านกลไก scissorsและเซ็นเซอร์
|
ใช้ข้อมูลด้านกลไก scissors
และเซ็นเซอร์
|
ใช้วัสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมในการทำกลไก
|
ใช้เครื่องมือช่างพื้นฐานใช้เซ็นเซอร์และใช้โซลาร์เซลล์
|
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าในการบีบอัด
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อโซลาร์เซลล์เซ็นเซอร์และแผงวงจรควบคุม
|
กระบวนการสร้างไม่ซับซ้อนจึงใช้เวลาน้อย
|
ในเมืองปัญหาด้านหนึ่งของสิ่งแวดล้อมนั่นคือขยะจำนวนมหาศาลที่มีความยุ่งยากในการจัดเก็บและทำลาย
ยิ่งประเทศไหนมีประชากรมากแล้ว ขยะก็คือสิ่งที่ตามมาเป็นเงาตามตัวแบบช่วยไม่ได้
ส่งผลให้การบริหารจัดเก็บขยะเป็นเรื่องสำคัญ การจ้างคนงานเก็บและรถเก็บขยะที่ต้องตระเวนไปแต่ละจุดบ่อยๆ
เข้าก็กลายเป็นสิ่งที่สิ้นเปลืองมิใช่น้อย
การนำเทคโนโลยีมาพัฒนาให้ถังขยะมีความสามารถในการเก็บขยะที่มากขึ้นก็คงดีไม่น้อย
เหมือนที่บริษัท Kyron
Energy & Power ในประเทศอังกฤษ ผู้เชี่ยวชาญในการจัดจำหน่ายเจ้าถังขยะที่ชื่อว่า ‘Big Belly’ หากดูภายนอกก็คงเหมือนถังขยะทั่วไป
ทว่าด้วยลักษะการทำงานแล้วเจ้า Big Belly ไม่ธรรมดาเลย เมื่อมันสามารถรองรับขยะได้มากถึง 8 เท่าของถังขยะทั่วไป
ส่วนสาเหตุที่มันทำได้แบบนี้ก็เพราะว่าภายในตัวถังขยะที่กลไลการบีบอัดขยะ
จากแบตเตอรีขนาด 12 โวลต์ ที่กักเก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์มาไว้
ก่อนจะทำการบีบอัดขยะซึ่งต้องเป็นขยะที่รีไซเคิลได้เท่านั้น ได้แก่ กระดาษ กระป๋อง
และขวดน้ำพลาสติกหรือขวดแก้ว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น